หากสงครามกลางเมืองจะเกิด
ศัตรูที่เป็นเป้าหมายของคนเสื้อแดงผู้รักประชาธิปไตย
ต้องเป็นอำมาตย์ผู้อยู่เบื้องหลังและเครือข่ายอำมาตย์ผู้อยู่เบื้องหน้า
เพราะอำมาตย์ทำงานเป็นขบวนการ ตั้งแต่อยู่เบื้องหลังขบวนการยุติธรรม
สารพัดสื่อ อธิการบดีจากสถาบันศึกษาต่างๆและกลุ่มทุนเก่า เหล่านี้ล้วนเป็นเครือข่ายของอำมาตย์ทั้งสิ้น
โดยมีพรรคประชาธิปัตย์เป็นตัวแทนอำมาตย์
ส่วนอำมาตย์แอบให้การสนับสนุนทุกเครือข่ายอยู่เบื้องหลังตลอดระยะเวลาของประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทย
คนเสื้อแดงได้ประกาศเจตนารมณ์อย่างแน่วแน่ที่จะปกป้องประชาธิปไตยและพยายามอย่างเต็มที่ที่จะไม่ให้เกิดสงครามกลางเมือง
แต่หากสงครามกลางเมืองจำเป็นต้องเกิด
ต้องไม่ใช่สงครามระหว่างประชาชนด้วยกัน
เพราะประชาชนส่วนใหญ่เป็นเหยื่อที่ถูกอำมาตย์ครอบมานานหลายสิบปี ศัตรูของระบอบประชาธิปไตยที่ชัดเจนที่สุดแม้นจะแอบอยู่เบื้องหลังกลางเมืองมาตลอดคือระบอบอำมาตย์และเครือข่ายทั้งหมด
เพราะฉะนั้น คนเสื้อแดงต้องประกาศให้ชัดเจนว่า
หากจะมีสงครามกลางเมืองเกิดขึ้น
ต้องเป็นสงครามระหว่างประชาชนผู้รักประชาธิปไตยกับระบอบอำมาตย์และเครือข่ายเท่านั้น
เมื่ออำมาตย์ยังคงให้ท้ายประชาธิปัตย์นำพาประเทศเข้าสู่ทางตันโดยมีเป้าหมายเพื่อล้มรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน
อำมาตย์และเครือข่ายก็ต้องรับผิดชอบต่อผลเสียหายที่จะเกิดขึ้น
ไม่ใช่ลอยอยู่เบื้องหลังเป็นอีแอบอย่างทุกๆครั้งของประวัติศาสตร์การนองเลือดของประเทศนี้
เพราะนี่คือ พ.ศ. 2556
เทปลับ
และการเมืองของอำมาตย์ โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์
แม้จะถูกเรียกว่าอำมาตย์เหมือนกัน
แต่อำมาตย์นั้นประกอบด้วยคนหลายกลุ่มมาก และด้วยเหตุดังนั้นจึงมีความขัดแย้งกันเองเสมอ
และแม้ว่าบางครั้งพวกเขาแก้ปัญหาความขัดแย้งกันอย่างรุนแรง แต่พื้นฐานที่แท้จริงของการแก้ปัญหาคือ
รอมชอม หากในที่สุดต้องจับอาวุธขึ้นมาต่อสู้กัน ฝ่ายแพ้ก็ควรนอนหงายแต่โดยดี ฝ่ายชนะจะไม่กระทืบฝ่ายแพ้
หากจะพาไปส่งขึ้นเครื่องบินไปสวิตเซอร์แลนด์ หรือไต้หวัน หากทำได้ก็-ออกกฎหมายนิรโทษกรรม
เพื่อไม่ให้ฝ่ายใด ไม่ว่าแพ้หรือชนะ ต้องลำบากในคุก
ไพร่ข้างนอกไม่เกี่ยว และหากเข้ามาเกี่ยว
อำมาตย์กลุ่มต่างๆ เหล่านี้ก็ไม่มีวิธีจัดการอย่างไร นอกจากใช้ความรุนแรงอย่างป่าเถื่อนเท่านั้น
อย่างที่ได้ใช้มาแล้วใน
14 ตุลา, 6 ตุลา, พฤษภามหาโหด
35, และพฤษภาอำมหิต 53 ในทรรศนะของอำมาตย์ ชีวิตและสวัสดิภาพของไพร่ไม่มีความหมายอย่างไร
ไพร่ตายพันเหมือนแมลงวันตายตัว (นึง)
นี่คือสารที่ผมอ่านได้จาก
“เทปลับ”
ซึ่งอื้อฉาวอยู่เวลานี้ (และพูดกันตรงไปตรงมาเสียเลยว่า
เทปนี้เป็นของจริง ไม่มีใครหลอกลวงทำขึ้น และไม่ได้ถูกตัดต่อ)
และที่น่าสังเกตมากก็คือ ศัตรูของทักษิณและรัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นสื่อหรือ ปชป.
ไม่ได้หยิบประเด็นนี้ขึ้นมาวิจารณ์เลย ได้แต่ยุว่ากระทบกระเทือนต่ออำมาตย์ขุนทหาร
แสดงว่าการรอมชอม (หรือที่เรียกกันว่าเกี้ยเซี้ย) ยังไม่ครอบคลุมอำมาตย์ทุกกลุ่ม
เจาะเอาแต่กลุ่มอำนาจระดับบนเท่านั้น อำมาตย์กลุ่มตกขบวนและบริวารจึงเดือดร้อนเป็นที่ยิ่ง
นับตั้งแต่เมื่อรัฐบาลยิ่งลักษณ์ขึ้นรับตำแหน่งในระยะแรกแล้ว
ความตึงเครียดระหว่างกลุ่มอำมาตย์มีสูงขึ้น เพราะขุนทหารไม่ไว้วางใจ
(แสดงว่าในกองทัพเองต้องมีบริวารฝ่ายอำมาตย์อีกฝ่ายหนึ่ง
หรือคนที่มีแนวโน้มจะถูกดึงไปอยู่พอสมควร) จะคุมรัฐบาลยิ่งลักษณ์ได้อย่างไร
ผู้ที่มีประสบการณ์ทางการเมืองสูงสุดฝ่ายอำมาตย์ ซึ่งในเทปลับที่ถอดออกมาเรียกว่า xxx จึงเรียก
ผบ.ทัพบก และรัฐมนตรีกลาโหมขณะนั้นมาพบ และบอกให้ทำงานร่วมกัน ผมเดาว่า xxx
คงมีวิธีจะคุมรัฐบาลยิ่งลักษณ์ที่เนียนกว่าการให้กองทัพแข็งข้อต่อรัฐบาลที่ชนะการเลือกตั้งมาอย่างท่วมท้น
ต้องเข้าใจด้วยว่า
คุณทักษิณถูกรัฐประหาร (ซึ่งก็อยู่ในกติกาการแย่งอำนาจกันของอำมาตย์
เมื่อพบว่าผู้ดำรงตำแหน่งนายกฯ “รอมชอม” ระหว่างอำมาตย์ด้วยกันอย่างไม่เพียงพอ)
ในสภาพที่สังคมไทยเปลี่ยนไปแล้ว การต่อสู้แย่งอำนาจจึงไม่จบลง
ที่เมื่อฝ่ายเสียงข้างมากของอำมาตย์ตกลงพร้อมใจกันที่จะถอดคุณทักษิณจากตำแหน่ง
เนื่องจากมีไพร่อีกกลุ่มใหญ่ที่เข้ามาหนุนฝ่ายคุณทักษิณ
หนุนมากกว่าที่ไพร่เคยหนุนมาแล้ว
จนขนาดจัดตั้งขบวนการของตนเองออกมาเคลื่อนไหวได้อย่างเปิดเผย
และนั่นอาจทำให้คุณทักษิณวางแผนนอกเกมอำมาตย์ในระยะแรก
นั่นคือ หวังจะใช้กำลังของไพร่ในการคืนอำนาจ
(หรืออย่างน้อยก็คืนชื่อเสียงเกียรติยศ และทรัพย์สิน)
ช่วงนั้นจะมีการโฟนอินในการชุมนุมของเสื้อแดงเกือบทุกครั้ง
และในช่วงการเผชิญหน้าระหว่างไพร่และอำมาตย์ ทั้งในปี 52 และ 53 กำปั้นของคุณทักษิณจึงชูขึ้น
เพื่อระดมกำลังไพร่เต็มที่ หวังจะบีบให้รัฐบาลอำมาตย์ยอมลาออกแต่โดยดี
ผมไม่ได้หมายความว่า
คุณทักษิณเป็นต้นคิดหรือกำกับทุกอย่าง ผมคิดว่าคุณทักษิณกระโดดลงไปร่วม
และหวังจะฉวยกำไรให้ได้มากสุดจากการเคลื่อนไหวของไพร่ ถ้าไพร่อยากเล่นแรง
คุณทักษิณก็พร้อมจะเล่นแรงด้วย
เกมผสมโรงกับไพร่ไม่ให้ผลอะไรแก่คุณทักษิณ
นอกจากชีวิตและเลือดเนื้อของไพร่จำนวนมาก
(ซึ่งในสายตาของอำมาตย์ก็ไม่มีค่าอะไรนัก) ร้ายยิ่งไปกว่านั้น
ยังทำให้คุณทักษิณตกที่นั่งลำบากมากขึ้น
เพราะจะหันกลับมารอมชอบกับอำมาตย์ฝ่ายอื่นได้ยากขึ้น เนื่องจากมีชีวิตและเลือดเนื้อของไพร่ที่ต้องแบกเข้าไปสู่กระบวนการรอมชอมด้วย
จะประกาศทิ้งไพร่ในตอนนี้ คุณทักษิณก็จะไม่มีอำนาจต่อรองอะไรเหลืออยู่อีกเลย
นอกจากนี้คุณทักษิณจะสื่อการเปลี่ยนนโยบายหันมาสู่การรอมชอมในหมู่อำมาตย์อย่างไร
จึงจะเป็นที่น่าเชื่อถือแก่อำมาตย์กลุ่มอื่น
โอกาสนั้นมาถึงเมื่อ
คุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ยกคะแนนเสียงให้แก่พรรคเพื่อไทย
ไปอย่างท่วมท้นในการเลือกตั้งใหญ่ คุณยิ่งลักษณ์ขึ้นมาเป็นนายกฯ
แสดงพลังอันแข็งแกร่งของเหล่าไพร่ อันนับเป็นสัญญาณอันตรายแก่การเมืองของอำมาตย์
และด้วยเหตุดังนั้น
xxx จึงส่งสัญญาณรอมชอมให้ประจักษ์มาแต่ต้น
แต่ดังที่กล่าวแล้วว่า
อำมาตย์นั้นประกอบด้วยหลายกลุ่มมาก
ไม่มีอำมาตย์ฝ่ายใดจะสามารถกำกับนโยบายของอำมาตย์ทุกฝ่ายได้เด็ดขาด ดังนั้น
จึงเป็นภาระของคุณทักษิณเอง ที่จะต้องจัดกระบวนการรอมชอมกับทุกฝ่าย
โดยเฉพาะฝ่ายที่มีอำนาจเชิงคุมมติของอำมาตย์ได้ เช่นกองทัพ
เนื้อความส่วนที่สำคัญในเทปลับก็เกี่ยวกับกระบวนการรอมชอมกับกองทัพ
สิ่งที่คุณทักษิณต้องการในตอนนี้คือ
หูของขุนทหารที่พร้อมจะรับฟัง และเท่าที่ปรากฏในเทปลับ
ดูเหมือนคุณทักษิณได้หรือเกือบได้หูอย่างนั้นแล้ว เพราะรัฐบาลสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจให้แก่ขุนทหารเหล่านั้นหนึ่ง
(เช่นสัญญาว่าจะไม่โยกย้าย) และถึงอย่างไรใน พ.ศ.2557
ขุนทหารเหล่านั้นก็จะเกษียณอายุราชการ
ความเป็นไปได้ที่พรรคเพื่อไทยจะสามารถแต่งตั้งขุนทหารใหม่จากหูที่พร้อมรับฟังก็มีมากขึ้น
(ถึงขนาดที่คิดว่าจะเอาใครก็ได้ แต่นั่นอาจพูดเกินจริง
ความหวังฝากไว้กับหูที่พร้อมจะรับฟังมากกว่าตั้งสมุนของตนเอง
จึงได้พูดถึงกรณีแม่ทัพเรือ ตั้งความหวังไว้กับนายทหารที่เป็นคนมีเหตุผล
หากได้โอกาสพูดกันก็จะฟังเหตุผล) นอกจากนี้ จะใช้เส้นสายต่างๆ ให้เป็นประโยชน์
เพื่อดึงหูของทหารบางคนที่กลายเป็นองคมนตรีไปแล้วให้รับฟังด้วย
เช่นเดียวกับที่คุณทักษิณทำมาในอดีต
รางวัลตอบแทนแก่ขุนทหารคือ ตำแหน่งทางการเมืองเมื่อปลดเกษียณแล้ว
เพราะในทรรศนะของคุณทักษิณและเหล่าอำมาตย์
มนุษย์ถูกขับเคลื่อนด้วยผลประโยชน์เชิงวัตถุเท่านั้น
น่าสังเกตด้วยว่า
ในการสนทนาไม่มีใครคิดถึงการแก้ไข พ.ร.บ.กลาโหม ซึ่งรัฐบาลรัฐประหารทำไว้
แต่ในท่ามกลางการปฏิเสธหลักการ Civilian Supremacy เช่นนี้
คุณทักษิณและพรรคพวกจะหาทางรอมชอมกับอำมาตย์กลุ่มอื่นอย่างไร นี่คือวิธีมองแบบ
real politic ซึ่งเหล่าอำมาตย์ชำนาญ ถึงอย่างไร Civilian
Supremacy ก็ไม่มีในความเป็นจริงอยู่แล้ว
พ.ร.บ.กลาโหมเพียงแต่ทำให้ความเป็นจริงกลายเป็นกฎหมายเท่านั้น
คุณทักษิณกับคุณสุรยุทธ์ จุลานนท์ ไม่ได้คิดอะไรต่างกันเลย
ส่วนวิธีการนิรโทษกรรมนั้น
คงจะออกแบบสุดซอย ตามที่คุณเฉลิม อยู่บำรุง เคยให้สัมภาษณ์ว่า
ทางขุนทหารรู้สึกอึดอัดกับการดำเนินคดี ซึ่งได้เริ่มไปแล้ว
จึงไม่มีทางนิรโทษกรรมด้วยวิธีอื่นนอกจากเหมาเข่ง ฉะนั้น
จึงต้องนำร่างเข้าสู่การพิจารณาของสภากลาโหม เพื่อให้กองทัพทั้งหลายเห็นชอบก่อน
สภาไม่เกี่ยวและไม่เกี่ยวขึ้นไปอีก เพราะเมื่อขุนทหารเห็นชอบแล้ว ก็ออกเป็น
พ.ร.ก.เลย อย่างไรเสีย พรรครัฐบาลและร่วมรัฐบาลก็ต้องผ่าน
ไพร่เสื้อแดงไม่ต้องมีปากเสียงอะไรทั้งสิ้น
ปัญหาที่จะดำเนินการอย่างนี้มีอยู่นิดเดียว
คืออำมาตย์กลุ่มอื่นๆ โดยเฉพาะกองทัพ จะเชื่อได้อย่างไรว่า
คุณทักษิณกลับมาแล้วจะไม่ แก้แค้น ต้องมีอะไรที่ทำความมั่นใจให้ขุนทหารก่อน
คุณทักษิณเสนอให้เอาตัวไปหนีบไว้ใต้เงาสถาบันพระมหากษัตริย์
คือเป็นที่ปรึกษาของสำนักงานทรัพย์สินฯ
เพื่อทำให้ตัวไม่อาจเคลื่อนไหวทางการเมืองใดๆ ได้
(แต่ที่ปรึกษาของสำนักงานแห่งนี้ที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ก็เคลื่อนไหวทางการเมืองอย่างโจ่งแจ้ง ไม่ทราบว่าเหตุใดคุณทักษิณจึงคิดว่าเป็นหลักประกันได้ก็ไม่ทราบ)
อำมาตย์ทักษิณก็ไม่ต่างจากอำมาตย์กลุ่มอื่นๆ
คือไม่เชื่อว่าคนเสื้อแดงเป็นประจักษ์พยานของความเปลี่ยนแปลงที่ได้เกิดในสังคมไทยไปแล้ว
เขาคือคนหน้าใหม่ที่ไม่อาจถูกกีดกันออกไปจากการต่อรองอำนาจและผลประโยชน์
(ซึ่งเรียกว่าการเมือง) ได้ ไม่ว่าจะกีดกันโดยอำมาตย์ฝ่ายใด
รวมทั้งอำมาตย์ทักษิณด้วย อำมาตย์ทุกฝ่ายยังคิดว่า
จะสามารถรักษาการเมืองไทยไว้เป็นการเมืองของอำมาตย์ได้
ชีวิตและเลือดเนื้อของไพร่ที่สูญเสียไปในเดือนเมษา-พฤษภา
53 มีค่าแต่เพียงทำให้คุณทักษิณสามารถรอมชอมกับอำมาตย์กลุ่มอื่นได้เท่านั้น
แล้ววันหนึ่งคุณทักษิณก็คงกลับบ้าน
ในขณะที่ไพร่เสื้อแดงยังไม่มีโอกาสกลับบ้านอย่างแท้จริงได้อีกนาน
(ที่มา:หน้า 6,มติชนรายวัน
ฉบับวันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม 2556 )
คำว่า ''อำมาตย์''
ที่หลุดออกมาจากแกนนำกลุ่มคนเสื้อแดง
ฟังผิวเผินก็อาจตีความไปคนละทิศละทางว่าหมายถึงใคร?!?
แต่ในรายการสภาท่าพระอาทิตย์ที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัสน์เอเอสทีวี
ทีวีของประชาชน เมื่อวันที่ 21 มี.ค. 53 พล.ร.ท.ประทีป
ชื่นอารมณ์ อดีตผู้บัญชาการหน่วยปฏิบัติการลำน้ำโขง (นปข.)
และเหรัญญิกพรรคการเมืองใหม่ได้กล่าวถึงกรณีการชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดงที่
เริ่มปลุกระดมมาตั้งแต่วันที่ 12 มี.ค.
และ ปักหลักชุมนุมใหญ่มาตั้งแต่วันที่ 14 มี.ค. โดยตลอดระยะเวลาหนึ่งสัปดาห์ที่ผ่านมา พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีจอมคอร์รัปชั่นและผู้อยู่เบื้องหลังม็อบเสื้อแดง
รวมถึงแกนนำได้ พยายามปลุกระดมสงครามชนชั้นและแบ่งแยกสังคมไทยออกเป็นหลายชนชั้น โดยแทนตัวเองว่าเป็น
“ไพร่” และกล่าวหาศัตรูทางการเมืองว่าเป็น
“อำมาตย์”
พล.ร.ท.ประทีป ได้วิเคราะห์และตั้งข้อสังเกตว่า พ.ต.ท.ทักษิณและแกนนำคนเสื้อแดงกล่าวปลุกระดมอยู่ตลอดเวลาว่า
“ชวนไพร่มาไล่อำมาตย์” ซึ่งหลังจากที่ได้ฟังการปราศรัยของคนเสื้อแดงอยู่หลายวันตนก็สงสัยว่า
ความหมายของคำว่า “อำมาตย์” ของ พ.ต.ท.ทักษิณ และ แกนนำคนเสื้อแดงนั้นตรงกันหรือไม่
“ผมก็ตั้งคำถามขึ้นมาว่า
อำมาตย์บนเวทีแกนนำคนเสื้อแดง กับ อำมาตย์ของคุณทักษิณเนี่ยเป็นอำมาตย์เดียวกันหรือเปล่า
… ผมเองเกิดมาจนอายุ 60 กว่าแล้ว ในเส้นทางชีวิตที่เกิดมา
ผมไม่เคยคิดเลยว่าตัวเองจะประสบกับตัว ได้ยินกับหู ได้เห็นกับตาว่า จะมีบุคคลกลุ่มใดมาจาบจ้วง
ล่วงละเมิด มาท้าทาย มาข่มขู่ มาสั่งสอน บุคคลสำคัญของประเทศขนาดนี้” อดีตนายทหารระดับสูงกล่าว และตั้งข้อสังเกตหลายๆ ประการดังนี้
หนึ่ง การวิพากษ์วิจารณ์ของ
พ.ต.ท.ทักษิณ ที่ว่า “อำมาตย์อายุ
80 กว่าแล้ว อีกไม่กี่ปีก็ตายแล้ว” แต่ในข้อเท็จจริงคือ
พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี ซึ่งตกเป็นเป้าของ
พ.ต.ท.ทักษิณและกลุ่มคนเสื้อแดงมาตลอดนั้นปัจจุบันอายุ
90 ปี (เกิดปี พ.ศ.2463)
สอง การที่ พ.ต.ท.ทักษิณกล่าวว่า “อำมาตย์ร่ำรวยแล้ว
มีมรดกให้ลูกหลานอย่างพอเพียงแล้ว ปล่อยประชาชนไปเถอะ” ทว่าในข้อเท็จจริงก็คือ
พล.อ.เปรม ไม่เคยแต่งงาน และไม่เคยมีบุตร
เพราะฉะนั้นย่อมไม่มีทายาทและลูกหลาน
“ผมเรียนถามว่า พล.อ.เปรม ที่พวกท่าน (คนเสื้อแดง)
บอกว่าเป็นตัวแทนของอำมาตย์ ท่านมีลูกหรือเปล่าครับ? (พิธีกรตอบว่า ท่านไม่มีลูก เมียก็ยังไม่มี) ... เพราะฉะนั้นก็น่าตั้งคำถาม”
พล.ร.ท.ประทีป กล่าวด้วยสีหน้าที่เศร้าสลด
ประการต่อมา พล.ร.ท.ประทีม ตั้งคำถามถึง พ.ต.ท.ทักษิณ และคนเสื้อแดงด้วยว่า การที่ พ.ต.ท.ทักษิณ กล่าววิดีโอลิงก์เมื่อไม่นานมานี้ว่า
“อำมาตย์ไทย ท่านไม่ต้องกลัวหรอกว่าท่านจะไม่ได้รับการยอมรับ เหมือนอำมาตย์ในประเทศที่พัฒนาแล้ว
เพราะไทยมีวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนาที่มั่นคง …” ตนก็อยากรู้จริงๆ
ว่า อำมาตย์ที่ พ.ต.ท.ทักษิณหมายถึงนั้นคือใคร
จากนั้น พล.ร.ท.ประทีป ได้กล่าวถึง คำพูดของ พ.ต.ท.ทักษิณระหว่างการวิดีโอลิงก์
ในช่วงหัวค่ำของวันศุกร์ที่ 19 มีนาคม 2553 ซึ่งตอนหนึ่ง พ.ต.ท.ทักษิณ กล่าวถึงอำมาตย์ต่อเนื่องยาวประมาณ 2 นาทีว่า
“เพราะฉะนั้นผมก็เลยอยากกราบเรียนอำมาตย์ด้วยความเคารพครับว่า
ต้องหยุดรังสีอำมหิตของท่านได้แล้ว เพราะว่ามันชัดเกินไป มันชัดจนระบบมันไม่เป็นระบบแล้ว
มันชัดจนกฎหมายมันไม่เป็นกฎหมายแล้ว มันชัดจนเห็นว่าท่านไม่มีความเป็น ธรรม ใครๆ เขาก็หวังพึ่งความเป็นธรรมของท่าน
แต่วันนี้ท่านไม่มีความเป็นธรรมเหลืออยู่เลยหรือ ผมเข้าใจได้ว่าท่านถูก เพ็ดทูล มีคนไปฟ้อง
มีคนไปรายงานว่าเสื้อแดงนี้ อีกไม่นานมันก็ฝ่อ ถ้าเลือกตั้งเมื่อไหร่ ไอ้พรรคเพื่อไทยมันชนะ
ก็จะยุบมันอีก เหมือนพลังประชาชน หมัดแรกพอไหว หมัดสองพอทำเนา หมัดสามไม่มีใครรับได้แล้ว
ทั้งโลก ไม่เฉพาะประเทศไทยครับ
“หมัดแรกไทยรักไทย
คนก็ยังงงอยู่ เอา เอา เอา ปล่อยไปเหอะ หมัดที่สองพลังประชาชนคนบอกว่า เฮ้ย!
ทำไมอ่ะ พอหมัดสามกำลังเงื้อ คนชี้เลย บอกว่าอย่านะ อย่านะ
... พี่น้องครับ วันนี้ทำท่าจะเงื้อ แต่ขณะเดียวกัน พอประชาธิปัตย์โดนหลักฐานทนโท่
กลับเป็นโรคเลื่อนกันหมด เลื่อนแล้วเลื่อนอีก อภิชาต (นายอภิชาต
สุขัคคานนท์ ประธาน กกต.) เนี่ยไส้เลื่อนกินไปแล้ว ไม่รู้กินแล้วเป็นโรคลำไส้
หรือ เป็นโรคไส้เลื่อนก็ไม่แน่ใจ
“พี่น้องครับถ้าอย่างนี้นี่
มันชัดเจนครับ ถ้าอำมาตย์ท่านรักประชาชนจริง เพราะประชาชนก็รักท่านเป็นบุญอยู่แล้ว
แต่ถ้าท่านรักประชาชนจริง ต้องเลิกอุ้มข้างเดียวแล้ว กระทืบอีกข้างหนึ่ง
...” พ.ต.ท.ทักษิณกล่าว
จากข้อความดังกล่าว พล.ร.ท.ประทีป จึงให้ข้อสังเกตว่า โดยปกติแล้วการใช้คำว่า
“รักประชาชน” และ “เพ็ดทูล”
นั้นมิใช่คำที่ประชาชนทั่วไปใช้แต่เป็นคำที่ใช้กับเจ้านาย
“คำว่าอำมาตย์บนเวทีคนเสื้อแดงนั้น
ซ่อนพรางด้วยวาทกรรมการเมือง
เป็นวาทกรรมอำพราง ว่าขับไล่อำมาตย์
แต่แท้จริงแล้ว ... ท่านขับไล่ใครครับ”
พล.ร.ท.ประทีปกล่าว
อำมาตย์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อำมาตย์ คือ ข้าเฝ้า ที่ปรึกษา
ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่มีความสำคัญและใกล้ชิดกับพระราชาเคยใช้เป็นยศพลเรือน [1]จัดเป็น ๓ ชั้น
คือ รองอำมาตย์ อำมาตย์ มหาอำมาตย์ ชั้นหนึ่งมี ๓ คือ เอก โท ตรี แต่ชั้นมหาอำมาตย์มีสูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง
คือ มหาอำมาตยนายก เป็นชั้นพิเศษ ยศดังนี้เลิกใช้ เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕[2]
ที่ปรึกษาชั้นผู้ใหญ่ที่มีความสำคัญและใกล้ชิดกับพระราชาเช่น
สมุหนายก มีหน้าที่ ผู้ว่าราชการแทนพระมหากษัตริย์บริหารแผ่นดิน สมุหพระกลาโหม ควบคุมเกี่ยวกับทางทหารทั่วประเทศ
มหาดเล็ก และ ราชครู
ตีวัวกระทบคราด โค่นอำมาตย์หรือโค่นกษัตริย์
เฉลิมชัย ยอดมาลัย
“โค่นล้มระบบอำมาตย์”
“ไพร่ถูกอำมาตย์กลั่นแกล้ง” “ม็อบมีเส้น”
“พวกกูทำอะไรก็ผิด มึงทำอะไรถูกหมด” เหล่านี้คือตัวอย่างของวาทะกรรมจากกลุ่มคนที่ประกาศตัวว่าไม่ชื่นชมและนิยมระบบอำมาตย์
แต่คนกลุ่มนี้จะโยงใยและเกี่ยวพันกับระบอบทักษิณมากหรือน้อยเพียงใดนั้น บทความในวันนี้จะยังไม่วิเคราะห์เข้าไปถึงประเด็นดังกล่าว
แต่จะจำกัดวงพูดเพียงแค่ว่าโดยเนื้อแท้แล้ว ระบบอำมาตย์มิใช่สถาบันพระมหากษัตริย์
สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยคือสถาบันคู่แผ่นดินไทย
คนไทยตั้งแต่โบราณกาลมีความผูกพันอย่างใกล้ชิดกับสถาบันพระมหากษัตริย์
สาเหตุที่พูดเช่นนี้ก็เพราะมีหลักฐานชัดเจนตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี และเรื่อยมาจนถึงยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
จวบจนถึงยุคกรุงธนบุรี และยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ต่างปรากฏชัดว่าคนไทยล้วนมีความจงรักภักดีในสถาบันพระมหากษัตริย์
แม้ในยุคกรุงสุโขทัย คนไทยในสมัยนั้นจะยังมิได้เรียกพระนามเจ้าผู้ปกครองราชอาณาจักรว่าพระมหากษัตริย์ก็ตาม
แต่ก็พบว่าคนไทยในยุคดังกล่าวก็เรียกผู้ปกครองดินแดนของตนว่า พ่อขุน ครั้นต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา
คนไทยก็ยังคงมีความผูกพันอย่างแนบแน่นกับสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยในความรู้สึกส่วนลึกนั้นให้ความยกย่องเทิดทูนองค์พระมหากษัตริย์ว่าเป็นเสมือนเทพเจ้าที่ทรงอวตารลงมาเพื่อปกปักรักษาดินแดนและให้ความคุ้มครองป้องกันภัยแก่อาณาประชาราษฎร์
และความรู้สึกนี้ก็ยังคงดำรงเรื่อยมาจนกระทั่งยุคกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ ตามลำดับ
ดังนั้นประชาชนทุกคนบนผืนแผ่นดินไทยจึงมีความแนบแน่นกับสถาบันพระมหากษัตริย์มาตั้งแต่โบราณกาลจวบจนปัจจุบัน
อ้างโค่นอำมาตย์ แต่เป้าหมายคือสถาบันกษัตริย์
ในระยะ 5-6 ปีมานี้ มีเสียงเรียกร้องและการกระทำบ้างอย่างปรากฏออกมาเสมอ ๆ ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวก็ทำให้ผู้ที่มีสติปัญญาที่เห็นความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์สามารถจับทิศทางความต้องการของผู้เคลื่อนไหวได้ว่ามิได้มีความประสงค์ดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยแม้แต่น้อย
เพียงแต่กลุ่มผู้เคลื่อนไหวดังกล่าวมิกล้าพูดตรง ๆ ว่าไม่ต้องการสถาบันเบื้องสูงอันเป็นเสมือนเสาหลักในการหลอมรวมจิตใจของคนไทยทั้งแผ่นดิน
แต่กลับเฉไฉว่าต้องการโค้นล้มระบบอำมาตย์
อย่างไรก็ตาม มีการวิเคราะห์กันว่า
แท้ที่จริงแล้วกลุ่มผู้เคลื่อนไหวดังกล่าวนั้น เข้าใจดีว่าระบบอำมาตย์มิใช่สถาบันพระมหากษัตริย์
แต่ทว่าทุกครั้งเมื่อพูดถึงระบบอำมาตย์แล้ว ก็จะต้องพยายามทำให้ผู้คนในสังคมไทยโดยเฉพาะผู้ที่คิดไม่ทันเข้าใจว่าระบบอำมาตย์คือสิ่งที่ค้ำจุนสถาบันพระมหากษัตริย์
และหลายต่อหลายครั้งยังพยายามทำให้สังคมไทยเข้าใจผิดคิดว่าระบบอำมาตย์คือสถาบันพระมหากษัตริย์ด้วย
ดังนั้นจึงไม่ต้องประหลาดใจที่จะพบว่าการชุมนุมของคนบางกลุ่มในช่วง 4-5 ปีมานี้มักจะอ้างว่าเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
แต่ขณะเดียวกันก็ตะโกนปาว ๆ ว่าต้องโค่นระบบอำมาตย์ เท่านั้นยังไม่พอยังมีความพยายามจะบิดเบือนข้อเท็จจริงว่า
สถาบันพระมหากษัตริย์เข้าไปเกี่ยวข้องกับการทำรัฐประหารเพื่อโค่นล้มรัฐบาลชุดหนึ่งที่มาจากการเลือกตั้ง
ทั้ง ๆ ที่ทุกคนรู้ดีว่าการเลือกตั้งดังกล่าวนั้นบริสุทธิ์เที่ยงตรงมากน้อยเพียงใด
ดังนั้นวิญญูชนจึงสามารถจับกระแสความรู้สึกนึกคิดของคนกลุ่มดังกล่าวโดยเฉพาะบรรดาแกนนำได้ว่า
ในการเคลื่อนไหวทางการเมืองของคนกลุ่มที่ว่านี้ มักจะเคลื่อนไหวอย่างรุนแรงแบบผิดปกติและมักจะทำในสิ่งที่ไม่บังควรอยู่เป็นประจำ
ซึ่งนั่นก็คือการจาบจ้วงล่วงละเมิดและโจมตีสถาบันพระมหากษัตริย์นั่นเอง
คนกลุ่มที่ว่านี้จะดึงเอาสถาบันพระมหากษัตริย์ลงมาเป็นเครื่องมือในการปลุกเร้าและปลุกระดมคนไทยกลุ่มหนึ่งที่ค่อนข้างจะหูเบาและไร้ความคิด
โดยพยายามจะให้ข้อมูลอันเป็นเท็จว่าการที่นักการเมืองระดับสูงรายหนึ่งของไทยไม่สามารถอยู่บนแผ่นดินไทยได้อีกต่อไปก็เป็นเพราะได้รับคำสั่งมาจากสถาบันเบื้องสูง
แต่คนกลุ่มดังกล่าวพยายามจะไม่กล่าวถึงความผิดทางอาญาที่นักการเมืองผู้นั้นจงใจใช้อำนาจรัฐเข้าไปกอบโกยและโกงกินทุกวิถีทาง
ครั้งเมื่อความจริงปรากฏบุคคลผู้นั้นก็พยายามสร้างเรื่องเอาตัวรอด โดยจงใจโยนความผิดให้กับสถาบันพระมหากษัตริย์
ถูกจับได้ว่าโกงบ้านกินเมือง
แต่อ้างว่าถูกอำมาตย์กลั่นแกล้ง
ขอย้ำอีกครั้งว่า วิญญูชนที่ติดตามเรื่องราวของบ้านของเมืองและติดตามพฤติกรรมอันสุดทรามของอำมาตย์ชั้นสูงผู้หนึ่งที่มีนิสัยโกงบ้านกินเมืองต่างตระหนักดีว่า
สาเหตุสำคัญที่ทำให้อำมาตย์ผู้นั้นไม่สามารถอยู่ในเมืองไทยได้ต่อไปก็เพราะ เขาทำผิดคิดร้ายต่อบ้านเมืองอย่างร้ายแรง
มิใช่เพราะถูกผู้ใดผู้หนึ่งกลั่นแกล้งรังแก ดั่งที่เขาพยายามมดเท็จสร้างเรื่องโกหกชาวบ้านที่ปัญญาเบา
วิญญูชนทราบดีว่าในยุคของอำมาตย์คนดังกล่าวนั้น
บ้านเมืองมีปัญหานานัปการ มีการโกงกินฉ้อฉล มีการทุจริตเชิงนโยบายทำให้ประเทศชาติสูญเสียรายได้และทรัพย์สมบัติไปมากมายมหาศาล
แถมยังมีการเล่นพรรคเล่นพวก และมีการใช้อำนาจรัฐโดยมิชอบโดยมิได้เคารพยำเกรงต่อระบบกฏหมายและความรู้สึกของประชาชนแม้แต่น้อย
ทุกคนรู้ดีว่าคณะผู้ปกครองประเทศภายใต้คำบงการของอำมาตย์ผู้นั้นไม่สามารถบริหารประเทศได้อีกต่อไป
เพราะอำมาตย์คนดังกล่าวได้สร้างความแตกแยกและร้าวฉานในกับผู้คนบนแผ่นดินอย่างหนัก ชนิดที่ว่าไม่เคยเกิดมาก่อนในแผ่นดินนี้
และที่สำคัญก็คือวิญญูชนตระหนักชัดแล้วว่าอำมาตย์ผู้นั้นไร้ความชอบธรรม เพราะโกงบ้านกินเมืองอย่างหนักจนสุดที่จะปล่อยให้ดำรงสถานภาพของการเป็นรัฐบาลได้อีกต่อไป
ดังนั้นจึงไม่ต้องประหลาดใจอีกเช่นกันที่จะมีผู้คนจำนวนไม่น้อยที่รู้สึกพึงพอใจอย่างมาก
เมื่ออำมาตย์คนดังกล่าวถูกโค่นจากอำนาจโดยเหล่าเสนาซึ่งก็คืออำมาตย์ชั้นสูงอีกกลุ่มหนึ่ง
สำหรับประเด็นเหล่าเสนาชั้นสูงที่เป็นอำมาตย์อีกกลุ่มหนึ่งที่ก่อการโค่นล้มอำนาจอำมาตย์กลุ่มเดิมนั้น
จะยังไม่กล่าวถึงรายละเอียดของความล้มเหลวในของกระทำการในบทความนี้ เพราะเกรงพื้นที่จะไม่เพียงพอ
แต่ประเด็นที่จะนำขึ้นมาเพื่อเตือนความทรงจำของคุณ
ๆ ผู้อ่านก็คือ อำมาตย์ผู้นั้นพยายามกล่าวโทษสถาบันกษัตริย์ว่าอยู่เบื้องหลังการรัฐประหาร
โดยมิเคยทบทวนพฤติกรรมทั้งหลายทั้งปวงของตนเองเลยว่า การกระทำของตนเองใช่หรือไม่ที่ทำ
ให้บ้านเมืองเข้าสู่วิกฤตการณ์ขั้นรุนแรง
และตนเองนั้นไร้ความชอบธรรมในการบริหารประเทศต่อไป แต่ทุกคนก็รู้ดีว่า อำมาตย์ผู้นั้นไม่เคยยอมรับความผิดพลาดใด
ๆ ซึ่งเกิดจากการกระทำของตนแม้แต่น้อย
เท่านั้นยังไม่พอ อำมาตย์คนดังกล่าวยังใช้การว่าร้ายและโจมตีสถาบันกษัตริย์เป็นเครื่องมือเพื่อหวังปลุกระดมให้คนปัญญาเบาลุกฮือขึ้นมาต่อต้านและโค่นล้มระบบกษัตริย์อีกด้วย
แต่สุดท้ายเขาก็คงจะต้องรู้แล้วว่า ฟ้าไม่มีวันถูกดึงลงต่ำ และคนที่ต่ำทรามก็ไม่มีวันขึ้นไปแทนที่ฟ้าได้
สถาบันกษัตริย์ไทยมิใช่สถาบันกษัตริย์ในความคิดของอำมาตย์สัมภเวสี
ต้องยอมรับว่าปัญญาชนรู้ดีว่าสถาบันกษัตริย์ไทยไม่เหมือนกับสถาบันกษัตริย์ในยุโรปหรือบนดินแดนใด
ๆ บนโลกใบนี้ สถาบันกษัตริย์ไทยไม่ใช่สถาบันกษัตริย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของประเทศฝรั่งเศส
และไม่ใช่สถาบันกษัตริย์ของประเทศเนปาลด้วย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยนั้น อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญของแผ่นดินไทยมาโดยตลอดตั้งแต่ช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ. 2475
ดังนั้นสถาบันกษัตริย์ไทยจึงไม่มีอำนาจใด
ๆ เหนือการเมือง จะมีก็เพียงแต่ความจงรักภักดีของพสกนิกรเท่านั้น และทุกคนตระหนักดีว่าความมั่นคงของราชอาณาจักรไทยดำรงอยู่ได้ก็เพราะสถาบันสูงส่งนี้
ยิ่งสถาบันพรรคการเมืองไทยมีความอ่อนแอมากเท่าไร ประชาชนก็ยิ่งเทิดทูนสถาบันกษัตริย์มากขึ้นเท่านั้น
ในขณะที่พรรคการเมืองและนักการเมืองพากันเอารัดเอาเปรียบและรังแกประชาชน แต่สถาบันกษัตริย์กลับให้ความดูแล
โอบอุ้มและช่วยเหลือประชาชนอย่างไม่เคยเลือกที่รักมักที่ชัง
สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมิได้ทำหน้าที่ทำนุบำรุงความผาสุกและความเจริญของบ้านเมืองเพื่อแลกกับคะแนนนิยมทางการเมืองเหมือนกับระบบพรรคการเมืองและอำมาตย์สัมภเวสี
ดังนั้นสถาบันกษัตริย์ไทยจึงไม่จำเป็นต้องออกนโยบายเอื้ออาทรหรือประชานิยมเพื่อหลอกลวงหาคะแนนนิยมทางการเมืองกับประชาชน
สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นสถาบันที่ผูกพันอย่างแนบแน่นกับสังคมไทยมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์
ดังนั้นหากผู้ใดจงใจประกาศตัวเป็นศัตรูกับสถาบันสำคัญนี้ก็เท่ากับประกาศตัวเป็นศัตรูกับคนไทยทั้งแผ่นดิน
และขอประกาศให้ผู้คิดล้มล้างสถาบันกษัตริย์รับรู้ว่า คนไทยรักและเทิดทูนสถาบันกษัตริย์
และจะไม่มีวันยอมให้ใครหน้าไหนล้มล้างสถาบันศักดิ์สิทธิ์นี้เป็นอันขา
ทักษิณกับอำมาตย์ ไม่ใช่ความขัดแย้งส่วนตัว แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างอำนาจ
ช่วงก่อนเกิดสงครามทางการเมืองของไทยรอบ 3 ก็คงต้องวิเคราะห์กันให้ถ่องแท้ว่าทำไม
ความขัดแย้งครั้งนี้มันจึงไม่จบสิ้นเสียที ยาวนาน มีคนเข้ามาร่วมในการขัดแย้งมากมายนับล้านคน
มีการฆ่ากันใจกลางกรุงเทพฯ ท่ามกลางกล้องถ่ายรูปดิจิตอล สมาร์ทโฟน
ทำไมความขัดแย้งระหว่างทักษิณ
กับอำมาตย์ มันถึงได้ไม่จบสิ้นเสียที
แล้วจะปรองดองกัน ทำไมทำไม่ได้เสียที
ผมคิดว่าหากเรามองความขัดแย้งทางการเมืองครั้งนี้อย่างตื้นๆ
ง่ายๆ เราก็คาดหวังว่าชนชั้นนำ ทักษิณ และกลุ่มอำมาตยาธิปไตย จะตกลงกันได้เสียที
ตัวคุณทักษิณเอง ได้แสดงไมตรีที่จะปรองดอง
แต่ทำไมฝ่ายตรงข้ามไม่ยอมเสียที ทั้งๆ ที่คุณทักษิณเองก็คิดว่าตัวเองยอมมากมายแล้ว
ทำไมพวกเขาแค้นอะไรกันหนักกันหนาจึงไม่ยอมให้อภัยและปรองดองเสียที
ก็อย่างที่บอก หากคิดตื้นๆ
ง่ายๆ ก็จะเกิดความงง
เมื่อเกิดความงง ไม่เข้าใจรากเหง้าของความขัดแย้ง
การกำหนดยุทธวิธี ยุทธศาสตร์ที่จะแก้ไขปัญหาความขัดแย้งก็ไม่ถูกต้อง ทุ่มเท เจรจา มากมาย
ก็ไม่บรรลุผล
เราต้องมอง "กรอบที่ใหญ่ออกไป"
ใหญ่กว่าความขัดแย้งส่วนตัวของคุณทักษิณกับ อำมาตย์ไม่กี่คนนะครับ เพราะคนเข้ามามีส่วนร่วมมากมาย หากเป็นเรื่องส่วนตัวคนจะเข้าร่วมนับล้าน
กันทั้งสองฝ่ายหรือ
ต้องมองขยายออกไปถึงพัฒนาการของสังคมไทยในช่วงเวลา 50 ปี มานี้ ตั้งแต่ปี
2504 ปีที่ประเทศไทยได้ประกาศแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนแรก
นั่นคือแผนการนำ "สังคมไทย"
ออกจาก "ยุคเกษตรกรรม" เข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม" พัฒนาการ 50 ปี ที่ผ่านมา สังคมไทยได้ก้าวออกจากภาคเกษตรกรรมมาไกลแล้ว และเข้าสู่สังคมกึ่งอุตสาหกรรมแล้ว
"ประชาชน" จำนวนมาก ได้อพยพออกจากหมู่บ้าน
เข้ามาทำงานในโรงงานจำนวนมาก มีการเคลื่อนย้ายแลกเปลี่ยนกันระหว่าง "หมู่บ้าน" กับเมืองอุตสาหกรรม"
นั่นเป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง
ของผู้คนจำนวนหลายสิบล้าน
เมื่อเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสังคม "โครงสร้างอำนาจของสังคมก็เปลี่ยนไป"
อำมาตย์เคยควบคุมประชาชนได้
วันนี้ ก็ไม่สามารถควบคุมได้อีก เพราะคนจำนวนมหาศาลต้องการที่จะเข้ามามีส่วนในการกำหนดทิศทางของสังคม
เพื่อให้ชีวิตเขาดีขึ้น
ปี 2544 ทักษิณชนะเลือกตั้งจากเสียงคนส่วนใหญ่
เป็นตัวแทนของ "คนรากหญ้า"
ปี 2549 ระบอบอำมาตย์ทำรัฐประหารโค่น
"อำนาจของคนรากหญ้า" ที่เลือกทักษิณขึ้นมา
ปี 2549-2555 คนรากหญ้าไม่ยอม
ต่อสู้กับระบอบอำมาตย์ ผ่านการชุมนุมทางการเมืองมากมาย จนบาดเจ็บล้มตาย จนสามารถตั้งรัฐบาลที่คนรากหญ้าสนับาสนุนได้คือ
รัฐบาลนายกฯ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ปี 2555 กลุ่มอำมาตย์พยายามก่อสงครามเพื่อชิงอำนาจคืน
โดยเริ่มชุมนุมพล ด้วย "ม็อบสนามม้า" แม้คนไม่มากมาย แต่นี่คือ การแสดงเจตจำนงว่า "จะประกาศสงครามชิงอำนาจ"
จากรัฐบาลของ "คนรากหญ้า" การแสดงเจตจำนงเช่นนี้ ในตำราพิชัยสงคราม ใครก็คาดการได้ว่าสงครามจะต้องเกิด
ไม่รู้ว่าเล็กหรือใหญ่แค่ไหน ขึ้นกับ "อำมาตย์ว่าจะมีศักยภาพดึงสรรพกำลังทั้งหลายออกมาสู้ได้ครบถ้วนหรือไม่
ฝ่ายรัฐบาลของคนรากหญ้ามีทางเลือกสองทางคือ "ตั้งรับ"
กับ การชิงโจมตีก่อน (Pre-emtive Strike ที่พวกอเมริกันชอบใช้) การตั้งรับมีโอกาสเสมอตัวกับแพ้ การโจมตีก่อน
มีโอกาสชนะกับแพ้ หรือเสมอตัว
เราเห็นภาพรวมแล้วนะครับว่า
มันไม่ใช่ความขัดแย้งระหว่างทักษิณ กับอำมาตย์ไม่กี่คน
แต่มันคือ "ความขัดแย้งของโครงสร้างอำนาจ"
ทักษิณเพียงแต่ "ขี่อยู่บนคลื่นของอำนาจใหม่"
คือ คลื่นอำนาจของคนรากหญ้าเท่านั้น แต่ "ตัวคลื่นจริงๆ คือ คนรากหญ้า" ที่ต้องการเข้ามามีส่วนในการกำหนดอำนาจของสังคม
ดังนั้น การเจรจาปรองดอง
จึงไม่มีประโยชน์อะไร
ระบอบอำมาตย์ กับ อำนาจของคนรากหญ้าจะปรองดองกันอย่างไร
แบ่งอำนาจกันอย่างนั้นหรือ มันไม่เคยเกิดขึ้นก่อนในประวัติศาสตร์การเมืองโลก
มันต้องมีคนชนะคนแพ้ ซึ่งในประวัติศาสตร์โลก "คนส่วนใหญ่ย่อมชนะ"
คลื่นลูกใหม่ของการเปลี่ยนแปลงจะชนะ
ทดแทนคลื่นลูกเก่าคือระบอบอำมาตย์
ส่วนประชาชนทั่วไป ใครจะเลือกอยู่กับคลื่นลูกใหม่
ที่ชนะในที่สุด
หรือจะอยู่กับคลื่นลูกเก่า
ที่จะต้องจางหายไปในที่สุด
ก็เลือกเอา
เรามองภาพรวมแล้ว ก็จะรู้เองว่า "ยุทธศาสตร์ปรองดอง"
นั้น มันผิดที่ผิดทาง ผิดประวัติศาสตร์ ผิดสถานการณ์ ผิดเวลา ไม่ใช่ยุทธศาสตร์ที่จะใช้ได้ในการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยในขณะนี้
ยังไง "อำมาตย์"
ก็ต้องโจมตี จนกว่าจะแพ้ หรือ จนกว่าพวกเขาจะชนะ
http://hd-dvd-free.blogspot.com/
ผมคิดว่า ทักษิณยังไม่ยอมรุก คงใช้ยุทธศาสตร์
"สุมาอี้" คือ "ตั้งทัพรอจนขงเบ้งตาย"
เมื่อใช้ยุทธศาตร์ "สุมาอี้" ตั้งทัพรอไม่ออกรบ ก็ต้องป้อไปป้อมา ฝ่ายตรงข้ามเอาผ้าถุงมาให้ก็ต้องใส่ แต่ไม่รบ
แม่ทัพนายกองที่ไม่เข้าใจอาจโมโห
ผมก็ยอมรับได้ครับสำหรับยุทธศาสตร์สุมาอี้ แต่ก็ต้องทำความเข้าใจว่า "การปรองดอง" เป็นแค่ "แผนลวง" ของทั้งสองฝ่าย ต้องจัดกำลังให้พร้อม เมื่อตั้งรับแบบสุมาอี้ หน้าฉากเป็นแบบนั้น หลังฉากก็ต้องจัดกำลังให้พร้อมรบ ไม่จำเป็นต้องเป็นแบบหน้าฉาก เข้าใจสงครามรากฐานความขัดแย้ง
ขึ้น
สมัยก่อนประชาชนถูกปลูกฝังความเชื่อมาตลอดว่าการเมืองเป็นเรื่องเลวร้าย ไม่มีประโยชน์ มีแต่การโกง เป็นเรื่องไกลตัว ซึ่งมันก็รวมไปถึงสิทธิหน้าที่ขั้นพื้นฐานที่ควรจะได้รับด้วย
จนกระทั่งทักษิณขึ้นมา แง้มเรื่องเหล่านี้ให้ประชาชนได้สัมผัสบ้าง ได้รู้ว่าการเมืองมันเป็นอะไรที่มากกว่านั้นบ้าง
กระแสสังคมต่อการเมืองก็เหมือนถูกจุดติดมาส่วนหนึ่ง
ผมว่าตอนนั้นอำมาตย์คงไม่มีคิดว่ามันจะลุกลามบานปลาย มองว่าเป็นเพียงแค่กระแสทักษิณ หากสาดโคลนไปมากๆคนก็คงจะเหม็นเบื่อไปเอง เพราะโครงสร้างการเมืองยังไม่มั่นคง ประชาชนก็มองแค่มิติเลือกตั้ง
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
สมัยก่อนประชาชนถูกปลูกฝังความเชื่อมาตลอดว่าการเมืองเป็นเรื่องเลวร้าย ไม่มีประโยชน์ มีแต่การโกง เป็นเรื่องไกลตัว ซึ่งมันก็รวมไปถึงสิทธิหน้าที่ขั้นพื้นฐานที่ควรจะได้รับด้วย
จนกระทั่งทักษิณขึ้นมา แง้มเรื่องเหล่านี้ให้ประชาชนได้สัมผัสบ้าง ได้รู้ว่าการเมืองมันเป็นอะไรที่มากกว่านั้นบ้าง
กระแสสังคมต่อการเมืองก็เหมือนถูกจุดติดมาส่วนหนึ่ง
ผมว่าตอนนั้นอำมาตย์คงไม่มีคิดว่ามันจะลุกลามบานปลาย มองว่าเป็นเพียงแค่กระแสทักษิณ หากสาดโคลนไปมากๆคนก็คงจะเหม็นเบื่อไปเอง เพราะโครงสร้างการเมืองยังไม่มั่นคง ประชาชนก็มองแค่มิติเลือกตั้ง
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
จนกระทั่งทักษิณขึ้นมา แง้มเรื่องเหล่านี้ให้ประชาชนได้สัมผัสบ้าง ได้รู้ว่าการเมืองมันเป็นอะไรที่มากกว่านั้นบ้าง
กระแสสังคมต่อการเมืองก็เหมือนถูกจุดติดมาส่วนหนึ่ง
ผมว่าตอนนั้นอำมาตย์คงไม่มีคิดว่ามันจะลุกลามบานปลาย มองว่าเป็นเพียงแค่กระแสทักษิณ หากสาดโคลนไปมากๆคนก็คงจะเหม็นเบื่อไปเอง เพราะโครงสร้างการเมืองยังไม่มั่นคง ประชาชนก็มองแค่มิติเลือกตั้ง
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ผมว่าตอนนั้นอำมาตย์คงไม่มีคิดว่ามันจะลุกลามบานปลาย มองว่าเป็นเพียงแค่กระแสทักษิณ หากสาดโคลนไปมากๆคนก็คงจะเหม็นเบื่อไปเอง เพราะโครงสร้างการเมืองยังไม่มั่นคง ประชาชนก็มองแค่มิติเลือกตั้ง
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
เมื่อใช้ยุทธศาตร์ "สุมาอี้" ตั้งทัพรอไม่ออกรบ ก็ต้องป้อไปป้อมา ฝ่ายตรงข้ามเอาผ้าถุงมาให้ก็ต้องใส่ แต่ไม่รบ
แม่ทัพนายกองที่ไม่เข้าใจอาจโมโห
ผมก็ยอมรับได้ครับสำหรับยุทธศาสตร์สุมาอี้ แต่ก็ต้องทำความเข้าใจว่า "การปรองดอง" เป็นแค่ "แผนลวง" ของทั้งสองฝ่าย ต้องจัดกำลังให้พร้อม เมื่อตั้งรับแบบสุมาอี้ หน้าฉากเป็นแบบนั้น หลังฉากก็ต้องจัดกำลังให้พร้อมรบ ไม่จำเป็นต้องเป็นแบบหน้าฉาก เข้าใจสงครามรากฐานความขัดแย้ง
ขึ้น
สมัยก่อนประชาชนถูกปลูกฝังความเชื่อมาตลอดว่าการเมืองเป็นเรื่องเลวร้าย ไม่มีประโยชน์ มีแต่การโกง เป็นเรื่องไกลตัว ซึ่งมันก็รวมไปถึงสิทธิหน้าที่ขั้นพื้นฐานที่ควรจะได้รับด้วย
จนกระทั่งทักษิณขึ้นมา แง้มเรื่องเหล่านี้ให้ประชาชนได้สัมผัสบ้าง ได้รู้ว่าการเมืองมันเป็นอะไรที่มากกว่านั้นบ้าง
กระแสสังคมต่อการเมืองก็เหมือนถูกจุดติดมาส่วนหนึ่ง
ผมว่าตอนนั้นอำมาตย์คงไม่มีคิดว่ามันจะลุกลามบานปลาย มองว่าเป็นเพียงแค่กระแสทักษิณ หากสาดโคลนไปมากๆคนก็คงจะเหม็นเบื่อไปเอง เพราะโครงสร้างการเมืองยังไม่มั่นคง ประชาชนก็มองแค่มิติเลือกตั้ง
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
สมัยก่อนประชาชนถูกปลูกฝังความเชื่อมาตลอดว่าการเมืองเป็นเรื่องเลวร้าย ไม่มีประโยชน์ มีแต่การโกง เป็นเรื่องไกลตัว ซึ่งมันก็รวมไปถึงสิทธิหน้าที่ขั้นพื้นฐานที่ควรจะได้รับด้วย
จนกระทั่งทักษิณขึ้นมา แง้มเรื่องเหล่านี้ให้ประชาชนได้สัมผัสบ้าง ได้รู้ว่าการเมืองมันเป็นอะไรที่มากกว่านั้นบ้าง
กระแสสังคมต่อการเมืองก็เหมือนถูกจุดติดมาส่วนหนึ่ง
ผมว่าตอนนั้นอำมาตย์คงไม่มีคิดว่ามันจะลุกลามบานปลาย มองว่าเป็นเพียงแค่กระแสทักษิณ หากสาดโคลนไปมากๆคนก็คงจะเหม็นเบื่อไปเอง เพราะโครงสร้างการเมืองยังไม่มั่นคง ประชาชนก็มองแค่มิติเลือกตั้ง
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
จนกระทั่งทักษิณขึ้นมา แง้มเรื่องเหล่านี้ให้ประชาชนได้สัมผัสบ้าง ได้รู้ว่าการเมืองมันเป็นอะไรที่มากกว่านั้นบ้าง
กระแสสังคมต่อการเมืองก็เหมือนถูกจุดติดมาส่วนหนึ่ง
ผมว่าตอนนั้นอำมาตย์คงไม่มีคิดว่ามันจะลุกลามบานปลาย มองว่าเป็นเพียงแค่กระแสทักษิณ หากสาดโคลนไปมากๆคนก็คงจะเหม็นเบื่อไปเอง เพราะโครงสร้างการเมืองยังไม่มั่นคง ประชาชนก็มองแค่มิติเลือกตั้ง
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ผมว่าตอนนั้นอำมาตย์คงไม่มีคิดว่ามันจะลุกลามบานปลาย มองว่าเป็นเพียงแค่กระแสทักษิณ หากสาดโคลนไปมากๆคนก็คงจะเหม็นเบื่อไปเอง เพราะโครงสร้างการเมืองยังไม่มั่นคง ประชาชนก็มองแค่มิติเลือกตั้ง
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ก็เลยมีวิธีการตั้งแต่เบาไปหนัก เช่นให้สนธิมาถล่ม ใช้การเมืองอย่าง ปชป. เล่นงาน ดูๆไปก็เหมือนแนวคิดแบ่งแยกและปกครองสไตล์ถนัดของพวกเค้า ซึ่งถ้าถามผมว่ามันก็แยกได้จริงนะ แต่กลายเป็นแยกคนออก 2 ขั้วอย่างชัดเจนเลยระหว่างไล่ รบ.ทรท. กับ สนับสนุน รบ.ทรท.
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ในจุดแย่ก็มีจุดดีตรงที่การเมืองถูกลากลงมาให้จับต้องได้แล้ว ผมยกให้เป็นความดีเพียงหนึ่งเดียวที่พอจะหาได้ของสนธิื ลิ้มนะ... เพราะเดิมทีมันมีค่านิยมว่านักการเมืองเป็นผู้มีอำนาจสูงส่ง พอถูกเลือกไปแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ ด่าตรงๆยังไม่ได้... ซึ่งส่วนนี้สนธิลิ้มมาเปิดประตูแล้วว่ามันทำได้ และทำได้มากกว่านั้น
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
แต่ก็นั่นล่ะ ทำให้ประชาชนรากหญ้าที่คิดว่าไม่มีสิทธิไม่มีเสียงกล้าแสดงตัวเปิดเผยมากขึ้น ซึ่งผมคิดว่าจุดนี้อำมาตย์เองก็คาดไม่ถึงว่าจะมีจำนวนมากมหาศาล ส่วนหนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้กลุ่มเสื้อแดงทั้งหลาย รวมไปถึงรายการหลักๆอย่างความจริงวันนี้
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ถ้าให้คิดผมว่าตอนนี้อำมาตย์เองก็คงรู้ตัวแล้วล่ะครับว่ากำลังสู้กับใคร ศัตรูไม่ใช่ทักษิณคนเดียวแต่หมายถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ดูจากการที่พยายามสั่งฆ่าปราบผู้ชุมนุมแล้วยัดความผิดหมายจะให้หวาดแบบสมัยที่ทำกับนักศึกษาธรรมศาสตร์ แต่อย่างที่คุณลูกชาวนาว่า ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ท่ามกลายกล้องถ่ายรูปดิจิตอล มือถืออัดคลิปได้ อินเตอร์เน็ตโยงใย พวกเขาไม่อาจเนียนได้แบบสมัยก่อนอีกแล้ว และีมีโลกมาเกี่ยวข้อง แผนเลยไม่สำเร็จ แล้วก็กลายเป็นชนักติดหลังให้การเป็นเกมยืดเยื้อ การต่อรองในกรณี icc การลากคนผิดต่อการสังหารหมู่ประชาชนกลางเมือง ก็กลายเป็นเรื่องที่ชวนอึดอัด ซึ่งผมว่าไม่แค่ฝ่ายเราเท่านั้น ฝ่ายเขาเองก็อึดอัดไม่แพ้กัน
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
แล้วก็ไม่แปลกใจเลยด้วยที่จะมีการโยนหินถามทางผ่านทางเสธอ้ายเรื่องการแช่แข็งประเทศ
มันแสดงให้เห็นเลยว่าเขายังไม่ยอมแพ้ และก็ดูเหมือนว่าทางเดินที่มีให้ก็เหลือน้อยเต็มทีแล้ว เลยคิดจะปิดประเทศตีหัวคัดคนกันเลย
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ไม่แน่ว่าบางทีแล้วปัจจัยเรื่องเวลาก็มีผลกับเขามาก
หากหัวหน้าเกิดเปลี่ยนตัวเมื่อไหร่ แล้วไม่ใช่คนที่เขาต้องการ มันอาจส่งผลไม่ดีกับทางนั้นก็เป็นได้
และทางตรงข้ามมันก็อาจทำให้ภาคประชาชนขยับตัวได้ง่ายขึ้นเช่นกัน
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ช่วงนี้ล่ะที่ผมว่าเป็นอะไรที่เหมือนนิ่งแต่ดูน่ากลัวมากต่างฝ่ายต่างก็มีแผน ต่างฝ่ายต่างก็รู้ไส้กันดีแล้ว จะรอก็แค่จังหวะเท่านั้นเอง แต่ผมว่าฝ่ายเราได้เปรียบตรงที่ว่ามีเวลาหายใจอีกนานครับ ถูกยุบพรรคก็ตั้งใหม่ได้ ต่างประเทศก็จับตามองตลอด ถ้าโดนเกมการเมืองก็คงส่งผลให้ชะงักแน่ แต่ผมไม่เชื่อว่าจะพัง ผิดกับทางฝ่ายเขาที่รวมอำนาจไว้กระจุกเดียว ถ้าชิงไม่หายใจก่อนกระจายอำนาจ ถึงตอนนั้นคงปั่นป่วนไม่น้อย
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ฉะนั้นแล้วยามนี้ถ้ามีใครมาบอกเรื่องปรองดอง สมานฉันท์ล่ะก็... ผมเชื่อไว้ก่อนเลยว่าพูดบังหน้าเท่านั้นเอง ไม่ก็ตอแหลไปวันๆ
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
เพราะสถานการณ์มันเกินจุดที่จะปรองดองกันไปแล้ว เว้นแต่จะมีสัญญาณหนึ่งใดว่าทางโน้นไปไม่ไหว หรือพาดบันไดจะลงเท่านั้นล่ะ ถึงจะค่อยกลับมามองประเด็นนี้กันได้ แต่ตราบที่ยังดูแข็งขืนถือมีดถือดาบจ้องจะฟันทีเผลออยู่แบบนี้ ไม่ว่าจะมองยังไงก็ไม่เห็นว่ามันจะปรองดองกันได้เลยสักนิด
ดูๆไปมันก็เหมือนน้ำผึ้งหยดเดียว
ผมว่าคุณลูกชาวนาไทย อย่าคิดไปเองในทางบวก
เพื่อปลอบใจตัวเองเลยครับ
มองความเป็นจริงดีกว่า
เอาใกล้ๆ ตัวก็กรณี
ICC หากไม่คิดลงนาม
ไอ้ที่พูดๆ มาก็เรื่องเหลวไหล
และเรื่องที่ผ่านๆ มาก็ปาหี่เปล่าๆ
ทั้งจ้างทนายโลก ทั้งเรียกร้องประชาธิปไตย
ทั้งเรียกร้องความเป็นธรรม
แต่เอาแต่ หมอบและกราบ
ไปทั้งชาติ ก็ไม่ได้เริ่มลงมือทำหรอกครับ
ไว้ค่อยคิดแง่บวก หลังจากลงนาม ICC ไปก็ไม่สายไม่งั้น
เหมือน เขียนมาปลอบใจกัีนเองเปล่าๆ
ท่านลูกชาวนาไทยครับ สิ่งหนึ่งที่ผมรักและนับถือในคนเสื้อแดงทั้งหลายคือความตรงและจริงใจ คิดอย่างไรก็จะยืนยันความคิดนั้นเสมอ รับรองว่าไม่แปรผันไปอื่น ต้องเคารพในตรงนี้จริงๆ
ยิ่งนานวันไปอำมาตย์ยิ่งไม่มีทางที่จะต้านทานกระแสความต้องการประชาธิปไตยที่แท้จริงของประชาชนได้ จะยอมสยบ หรือจะรบเป็นครั้งสุดท้าย
นั่นคือหนทางที่อำมาคย์ต้องเลือก
จับตา'สัญญาณปรองดอง'ไพร่-อำมาตย์
จับตา"สัญญาณปรองดอง"ไพร่-อำมาตย์ : ขยายปมร้อน โดย
สมถวิล เทพสวัสดิ์
วาทกรรมคำว่า
"ปรองดอง" ในขณะนี้เริ่มมีความชัดเจนเป็นรูปธรรมมากขึ้นจาก
"สัญญาณ" ที่เริ่มปรากฏให้เห็นเป็นระยะ
โดยเฉพาะ
"ป๋าเปรม" พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ได้ถูกยกเป็นตัวแทนของระบอบอำมาตย์
จึงตกเป็นเป้าโจมตีและมักถูกหยิบยกมาเป็นประเด็นทางการเมืองจนเป็นที่มาของวลี
"อำมาตย์-ไพร่"
ขณะที่
"คู่กรณี" พรรคเพื่อไทย ภายใต้ที่ปรึกษาใหญ่
"ทักษิณ ชินวัตร" โดยมี
"กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ"
(นปช.) เป็นกองหนุน
ดังนั้นเมื่อ
"คู่ขัดแย้ง" ทางการเมืองมีความเคลื่อนไหวโดยทำ
"กิจกรรม" ร่วมกันย่อมเป็นธรรมดาที่จะถูกสังคมจับจ้อง
โดยเฉพาะกิจกรรมในวันที่
26 เมษายนนี้ "ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร"
นายกรัฐมนตรี จะนำรองนายกรัฐมนตรี ในฐานะตัวแทนของ "คณะรัฐมนตรี"เข้ารดน้ำดำหัว "พล.อ.เปรม" ที่บ้านสี่เสาเทเวศร์ เนื่องในโอกาสเทศกาลสงกรานต์
ถือว่าข่าวครึกโครมและเป็นที่จับตาของหลายฝ่ายโดยเฉพาะ
"กลุ่มคนเสื้อแดง" ที่ให้การสนับสนุนรัฐบาลพรรคเพื่อไทย
เพราะกระแส
"ยิ่งลักษณ์" เข้ารดน้ำและขอพร
"พล.อ.เปรม"
ครั้งนี้เป็นที่สนใจมากกว่าข่าว "พล.ต.อ.เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์"
ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พี่ชายคุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพ็ชร นำนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่
เข้ารดน้ำและขอพรจาก "พล.อ.เปรม" เมื่อวันที่ 18 เมษายน
ที่ผ่านมาด้วยซ้ำ
จะเห็นได้จากเว็บไซต์
"ไทยอีนิวส์"
http://thaienews.blogspot.com ได้ทำแบบสำรวจความคิดเห็น โดยตั้งคำถามว่า "นายกฯ
ยิ่งลักษณ์ จะพา ครม.รดน้ำดำหัวขอพรป๋าเปรม 26 เม.ย." โดย ณ เวลา
14.45 น. เมื่อวันที่ 23 เมษายน ปรากฏผลโหวตพบว่า มีผู้คัดค้านเต็มที่ 55% (238 คน) ขณะที่เห็นด้วยมีเพียง 1% (31 คน) และเขาคงแค่ลับลวงพราง 37% (163 คน)
หากไล่เรียงจะเห็นถึงกิจกรรมที่ทำให้เกิดภาพความปรองดองที่ให้เห็นอย่างต่อเนื่อง
โดยอาศัยจังหวะและโอกาสที่เอื้ออำนวยทำให้เกิดภาพที่เหมาะเจาะโดยที่ไม่ทำให้ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดถูกมองในแง่ลบหรือเป็นฝ่ายอ่อนข้อจนเสียแนวร่วม
สัญญาณคำว่า
"ปรองดอง" สังเกตฝ่ายที่เห็นเด่นชัดมากที่สุดคือพฤติการณ์ของ
"ทักษิณ ชินวัตร"!
เพราะหากดูจากพฤติการณ์ของ
"ทักษิณ" แล้ว เชื่อว่าในใจลึกๆ มีความมั่นอกมั่นใจว่าถ้า
"ปฏิบัติการปรองดอง" หากประสบความสำเร็จโอกาสในการเดินทางกลับบ้านเกิดมีความเป็นไปได้สูง
สังเกตจากคำพูดของ
"ทักษิณ" เมื่อครั้งที่เดินทางไป
"สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว" (ส.ป.ป.ลาว) พร้อมกับประกาศกับประชาชนคนเสื้อแดงที่เดินทางไปต้อนรับว่า
"พี่น้องครับ สงกรานต์ปีนี้ก็มีนิมิตหมายอันดีที่เราจะมีความสุขด้วยกันสักที
3-4 เดือน ข้างหน้าผมกลับมาแน่ พี่น้องชาวไทยจะมีความสุขทั่วหน้า ต่อจากนี้ไปจะไม่มีเหลืองแดง
คนไทยเราจะหันหน้าเข้าหากัน ถ้าหากใครไม่ปรองดองผมก็ช่วยไม่ได้ ปีใหม่นี้ขอให้ทุกคนมีความร่ำรวยและมีความสุขด้วยกันเนื่องในวันสงกรานต์"
นั่นเป็นคำพูดของ
"ทักษิณ" ก่อนช่วงเทศกาลสงกรานต์
แต่ "สัญญาณ" ที่ "ทักษิณ"
ส่งผ่านไปยังพี่น้องคนเสื้อแดงที่ "ส.ป.ป.ลาว" ยังไม่ชัดเจนเท่ากับ "พฤติการณ์ที่ทักษิณแสดงออกบนเวทีเมืองเสียมราฐ
กัมพูชา"
การที่
"ทักษิณ" และ "แกนนำคนเสื้อแดง" ส.ส.เพื่อไทยได้ร้องเพลง "Let it be" หรือที่
"ทักษิณ" แปลงเป็นภาษาไทยท่อนหนึ่งว่า
“ช่างแม่มัน” บนเวทีปราศรัยกับมวลชนคนเสื้อแดงครั้งนั้น
ด้วยใบหน้าเปื้อนยิ้มตลอดเวลา อารมณ์ครึกครื้น รื่นรมย์ สบายอกสบายใจเหมือนเป็นเจ้าของโลกทั้งใบ
นั่นหมายความว่า
"ทักษิณ" ย่อมมีความในใจหรือสัญญาณบางอย่างที่ทำให้
"ปลื้มสุดๆ" แต่ไม่สามารถบอกใครได้ จึงแสดงออกมาทาง
"อารมณ์เพลง"
ระหว่างที่อยู่กัมพูชา
"ทักษิณ" ได้สะสางปัญหาความขัดแย้งภายในพรรค
นอกพรรค โดยเรียกกลุ่มก๊วนต่างๆ เข้าพบเพื่อเคลียร์ปัญหาให้จบ
จากนั้นก็ให้สัมภาษณ์สื่อ
เพื่อต้องการสื่อไปยังกลุ่มคนเสื้อแดงบางคนที่เริ่มไม่พอใจกระบวนการปรองดองของรัฐบาล
พร้อมกับยกตัวอย่างกรณีของแม่ของ น.ส.กมนเกด
อัคฮาด พยาบาลอาสาที่เสียชีวิตระหว่างสลายชุมนุมราชประสงค์
โดยบอกว่า
"แม้แต่แม่ของ น.ส.กมนเกด
แม้ยังไม่หายโกรธที่ลูกถูกทหารยิง และไม่อยากให้มีนิรโทษกรรม ก็เป็นเรื่องธรรมดา แต่เราต้องฟังประโยชน์ส่วนใหญ่และให้ส่วนน้อยยอมเสียสละ
อย่างไรก็ตามเชื่อว่าเรื่องปรองดองจะเกิดขึ้นได้ภายในปีนี้ น่าจะเกิดขึ้น เพราะรู้สึกลึกๆ
แต่ไม่ได้มีอะไรมากกว่านั้น เพราะนั่งทางในไม่เป็น แต่อยู่ในการเมืองมานาน มีสิ่งบอกเหตุก็พอจะเดาได้”
ขณะที่
"กลุ่มคนเสื้อแดง" โดยเฉพาะ
"ผู้สูญเสีย" ไม่พอใจกับแนวคิดการปรองดองของรัฐบาล
แม้ว่ารัฐบาลจะมีการจ่ายเงินชดเชยเยียวยาให้แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบในบางรายที่ได้รับถึง
7.75 ล้านบาทก็ตาม
โดย "ผู้สูญเสีย" ต้องการทราบข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นกับ
91 ศพ และให้นำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษให้ได้
จุดนี้ถือว่ารัฐบาลภายใต้การนำของพรรคเพื่อไทย
"พลาด" การปรองดองโดยข้ามขั้นตอนไม่ยึดหลักนิติรัฐ
เพราะหวังว่า "เงินชดเชย" จะเยียวยา
"จิตใจ" ของผู้สูญเสียได้
การเดินหน้ากระบวนการ
"ปรองดอง" ของรัฐบาลคงเดินหน้าต่อไป
แม้กลุ่มต่อต้านที่เคยสนับสนุนรัฐบาลจะออกมาเคลื่อนไหวบ้าง แต่ก็ทำได้แค่เชิงสัญลักษณ์เท่านั้น
เพราะสุดท้าย
"อำนาจ" เบ็ดเสร็จเด็ดขาดต่างรู้กันดีว่าอยู่ในมือใคร?
(หมายเหตุ : จับตา"สัญญาณปรองดอง"ไพร่-อำมาตย์ : ขยายปมร้อน โดย
สมถวิล เทพสวัสดิ์)
No comments:
Post a Comment