วงจรอุบาทว์กดเกษตรกรชาวนาไทย คือ 5 เสือกำหนดราคากดโรงสี >>> โรงสีกดราคารับซื้อจากชาวนาอีกท อดนึง >>> ชาวนาทำนาแทบตายสุดท้ายมีแต่หนี ้สิน
สมัยก่อนกลไกตลาดข้าวโดยเฉพาะส่ งออก จะถูกกำหนดโดย 5 บริษัทใหญ่ที่ครองตลาดส่งออกข้า วไทยกว่าครึ่ง ประกอบด้วย
1. บริษัท นครหลวงค้าข้าว จำกัด
2. บริษัท เอเชียโกลเด้นไรซ์ จำกัด
3. บริษัท ไชยพรค้าข้าว จำกัด
4. บริษัท พงษ์ลาภ จำกัด
5. และบริษัท ไทยฟ้า(2511) จำกัด ครองส่วนแบ่งตลาด
5 เสือไม่เฉพาะเป็นกลุ่มที่มีการส ่งออกอันดับต้นๆของประเทศ แต่ยังเป็นกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อ การชี้นำราคาข้าวของตลาดภายในปร ะเทศและส่งออก เป็นกลุ่มที่กว้างขวางและใกล้ชิ ดกับภาครัฐและนักการเมืองในทุกย ุคทุกสมัย และในรัฐบาลสมัครปี 2551 ได้สิทธิพิเศษในการส่งออกข้าวแบ บรัฐบาลต่อรัฐบาล (จีทูจี)
เมื่อมีโครงการจำนำข้าวที่รัฐตั ้งราคาจำนำสูงกว่าราคาเดิมมาก "5เสือส่งออกข้าว" จึงหมดสิทธิ์กำหนดราคากดหัวชาวน า เพราะชาวนาจะไม่ขายให้โรงสีที่ใ ห้ราคาต่ำกว่ารัฐ ช่วงแรกๆ ของโครงการจำนำข้าวนั้นส่งผลดีท ำให้ราคาข้าวไทยสูงขึ้นในตลาดโล ก ชาวนาได้ประโยชน์ แต่ 5 เสือเสียประโยชน์ ทั้งนี้ ราคาที่สูงขึ้นไม่ใช่การปั่นขึ้ นมาเอง แต่เป็นราคาที่สะท้อนต้นทุนการผ ลิต และเป็นราคาที่ตอบแทนชาวนาอย่าง เป็นธรรมมากขึ้น
ไม่ต้องกลัวหากไทยจะเสียแชมป์ส่ งออกข้าว การเป็น "แชมป์" ส่งออกข้าวย่อมหมายถึงผลประโยชน ์ของ 5 เสือที่ยิ่งครองตลาดมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งสามารถกดราคาชาวนาได้มากข ึ้นเท่านั้น ดังนั้น การที่ประเทศไทยจะส่งออกข้าวน้อ ยลง แต่มีราคาที่เป็นธรรมมากขึ้น ก็ถือเป็นเรื่องดี
ปัจจุบันรัฐเป็นเสมือนพ่อค้าข้า วรายใหญ่สุด สร้างเครือข่ายส่งออกข้าวใหม่ "5เสือส่งออกข้าว" ก็ดูจะหงอยๆ เพราะประมูลข้าวจากรัฐไม่ค่อยได ้ หรือนี่จะเป็นอวสานของวงจรอุบาท ว์ของ "5เสือส่งออกข้าว"?
ขอบคุณที่มา:กลุ่มวันอาทิตย์สีแดง
วงจรอุบาทว์กดเกษตรกรชาวนาไทย คือ 5 เสือกำหนดราคากดโรงสี >>> โรงสีกดราคารับซื้อจากชาวนาอีกท
สมัยก่อนกลไกตลาดข้าวโดยเฉพาะส่
1. บริษัท นครหลวงค้าข้าว จำกัด
2. บริษัท เอเชียโกลเด้นไรซ์ จำกัด
3. บริษัท ไชยพรค้าข้าว จำกัด
4. บริษัท พงษ์ลาภ จำกัด
5. และบริษัท ไทยฟ้า(2511) จำกัด ครองส่วนแบ่งตลาด
5 เสือไม่เฉพาะเป็นกลุ่มที่มีการส
เมื่อมีโครงการจำนำข้าวที่รัฐตั
ไม่ต้องกลัวหากไทยจะเสียแชมป์ส่
ปัจจุบันรัฐเป็นเสมือนพ่อค้าข้า
ขอบคุณที่มา:กลุ่มวันอาทิตย์สีแดง
- คนที่คุณก็รู้ว่า ใคร มิน่า ถึงแถกเหงือกดิ่้นพลาดๆเพราะผลประโยชน์มันหายไป หากินบนหลังชาวนาจริงๆพวกเหลือบ
- Red Dragon Mongkorn รับรองเลย ครับสายสนกลใน ของพวกเหล่านี้ จะต้องครองใจข้าราชการ............แล้วก้อจะต้องมีแบ๊งค์หนุนหลังอยู่ ครับผม..............
- Naruedol Boss GoodLucky กลุ่มนี้นี่แหละที่มันทำนาบนหลังคน(ชาวนา)มานานมากๆแล้วและกำลังจะสูญเสียรายได้จากการขูดรีดของพวกมันเลยออกมาโกหกต่างๆนาๆเพื่อให้รัฐบาลชุดนี้ซึ่งตั้งใจช่วยเหลือพ่อแม่พี่น้องชาวนาด้วยความจริงใจและเป็นธรรม.
- Ju Jub Jub รู้จัก "หยง". ไหมคระ. นั่นก็ตัวดีเลยล่ะคร่ะ กินหัวคิวจนอิ่มอ้วนพี. น่ากลัวกว่า 5 เสือนี้อีกกคร่ะ
- Pongsak Aksornsua ถ้าชาวนาชนะมันก็จะหันไปเล่นชาวสวนอีก,มันสำ,อ้อย ยาง ปาล์ม ฯลฯ.,ไอ้พ่อค้าหน้าเลือด.
- -------------------------------------------------------------------------------------------------------เราอย่ามองการจำนำข้าวเป็นแค่จำนวนเงินที่จ่ายออกไป การจำนำข้าวเป็นการลงทุนอย่างหนึ่งที่มีผลตอบกลับเป็นทั้งจำนวนเงินและที่ไม่ใช่จำนวนเงิน มันมีประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่สามารถวัดเป็นตัวเลขได้ เช่น ความสุขของชาวนาที่มากขึ้น อาชญากรรมที่ลดลง ลดความเหลื่อมล้ำโดยมีการกระจายรายได้ที่เท่าเทียมกันมากขึ้น
-------------------------------------------------------------------------
จำนำข้าว...ประโยชน์ที่ถูกมองข้าม
วันนี้ขอแตะเรื่องประเด็นร้อน “จำนำข้าว” ละกันครับ
โดนโจมตีกันหนัก สำหรับเรื่องจำนำข้าว แต่ถ้าดูให้ดี มองให้ลึก จะเห็นว่าคนที่โจมตีนั้น “พูดไม่หมด”
เข้าใจครับว่าเป็นนโยบายที่ต้องลงทุนสูง ใช้เงินเยอะ แต่การจะทำนโยบายอะไรต้องวิเคราะห์ทั้งด้านรายจ่ายและด้านประโยชน์ได้รับ (Cost-Benefit Analysis) ด้วย ไม่ใช่ดูแค่ด้านรายจ่ายเพียงอย่างเดียว
ในด้านของประโยชน์ที่ได้รับนั้น ส่วนใหญ่คนจะพูดถึงแค่เงินที่ตกถึงมือชาวนา 8 หมื่นล้านบ้าง 1 แสนล้านบ้าง ซึ่งเหล่านี้จะเพิ่มการบริโภคของชาวนา ซึ่งนำไปสู่การเพิ่ม GDP “แต่หยุดอยู่แค่นั้น” บางคนไม่รู้ บางคนรู้แต่พูดไม่หมด
ที่มองข้ามกันไปคือ “Multiplier Effect ของนโยบายจำนำข้าว” ครับ
ว่าแต่ Multiplier Effect คืออะไร? เอาคร่าวๆ ก็คือ การที่รัฐลงทุนในนโยบายใดนโยบายหนึ่ง 1 บาท แต่สามารถเพิ่มรายได้ประชาชาติได้มากกว่า 1 บาท ครับ
แล้ว Multiplier Effect เกิดขึ้นได้ยังไง
ยกตัวอย่างนะครับ สมมติว่าชาวนาได้เงินมากขึ้นจากนโยบายรับจำนำข้าวจำนวน 1 แสนล้านบาท จะคิดว่าประโยชน์จากนโยบายนี้แค่ 1 แสนล้านบาท นั้นไม่ถูกต้อง ต้องมองให้ลึกกว่านั้น ครับ
สมมติว่าชาวนาเอาเงินที่ได้เพิ่มขึ้นจากนโยบายนี้ไปหาโรงเรียนให้ลูกเรียนที่กทม. ต้องนั่งรถ บขส. เข้ามา ทำให้บริษัทรถ บขส. มีรายได้เพิ่มขึ้น รถ บขส. ต้องจ้างพนักงานขับรถเพิ่ม เกิดการจ้างงาน พนักงานที่ถูกจ้างก็มีรายได้เพิ่มขึ้น แล้วนำไปบริโภคต่อ รถ บขส. ต้องใช้น้ำมันเพิ่มขึ้น ปั๊มน้ำมันก็มีรายได้เพิ่มขึ้น ต้องจ้างเด็กปั๊มเพิ่ม เด็กปั๊มมีรายได้เพิ่ม ก็นำไปบริโภคต่อ อีกทั้งการที่ชาวนานำเงินที่เพิ่มขึ้นไปส่งเสียลูกให้ได้เรียนสูงขึ้น ทำให้โรงเรียนมีการจ้างครูเพิ่ม จ้างภารโรงเพิ่ม ครูและภารโรงก็นำไปบริโภคต่อ ลูกของชาวนาคนนี้ก็มีการศึกษาดีขึ้น เป็นคนที่มีศักยภาพเพิ่มขึ้น เป็นประโยชน์ต่อประเทศมากขึ้น และสร้างรายได้ให้ประเทศมากขึ้น
อันนี้คือชาวนา 1 คนนะครับ แล้วถ้าชาวนาเป็นล้านครัวเรือนที่เข้าโครงการหล่ะ? Multiplier Effect มหาศาลครับ
ทั้งหมดนี้ส่งผลบวกต่อ GDP ครับ ไม่ใช่แค่เงิน 1 แสนล้านที่ตกถึงมือชาวนาในตอนแรก
ยังไม่หมดครับ การบริโภคที่เพิ่มขึ้นนี้ยังทำให้รัฐบาลมีรายได้จากภาษีเพิ่มขึ้นอีก เมื่อนำไปหักลบกับค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ รายจ่ายนั้นก็จะไม่มากเท่ากับที่โดนกล่าวโจมตีครับ
นี่ยังไม่ได้พูดถึงประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่สามารถวัดเป็นตัวเลขได้ เช่น ความสุขของชาวนาที่มากขึ้น อาชญากรรมที่ลดลง ลดความเหลื่อมล้ำโดยมีการกระจายรายได้ที่เท่าเทียมกันมากขึ้น เป็นต้น
ทั้งหมดนี้ แค่ต้องการจะบอกว่า ประโยชน์ของนโยบายจำนำข้าว ไม่ได้หยุดอยู่แค่เงิน 1 แสนล้านบาท ที่ตกถึงมือชาวนาในตอนแรก แต่กลับมี Multiplier Effect อีกมากมาย และสามารถสร้างรายได้ให้กับระบบเศรษฐกิจเป็นทวีคูณ
ดูผลวิจัยกันครับ
ผลวิจัยของนักวิจัยของธนาคารแห่งประเทศไทยก็สนับสนุนว่า Fiscal Multiplier ของไทยมีตัวคูณมากกว่า 1 เนื่องจากเป็นการสร้าง Demand ในระบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ เงินลงทุนในนโยบายต่าง ๆ 1 บาท สามารถเพิ่มรายได้ประชาชาติมากกว่า 1 บาท หรือเกิด Multiplier Effect อย่างที่กล่าวข้างต้นนั่นเอง
ฉะนั้นประโยชน์จากนโยบายจำนำข้าว จึงมีมากกว่าที่ถูกกล่าวอ้าง มากมายครับ
เพียงแต่...ถูกมองข้าม หรือถูกปิดปัง เท่านั้นเองครับ
โดย : ดร. เผ่าภูมิ โรจนสกุล : http://insidethaigov.com/index.php?r=article%2Fview& id=94
"ชาวนาคือผู้ทำนาปลูกข้าว เลี้ยงเรามาจนเป็นหนุ่มสาว ยันจนเราเฒ่าแก่ชรา แต่เหตุไฉน ชาวนาไทยอับจนเรื่อยมา เผชิญดิน น้ำ ลม ฟ้า เผชิญปัญหาชะตากรรม..."
ReplyDeleteแย่จัง ชาวนา
ReplyDelete